26 สิงหาคม 2563
ในปัจจุบัน การพัฒนาองค์ความรู้ทางควอนตัมได้เข้ามามีบทบาทต่อการขับเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก ทั่วโลกได้เล็งเห็นความสำคัญและแต่ละภาคส่วนต่างได้ทุ่มเงินเพื่อพัฒนางานวิจัยทางควอนตัม ในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มีการอนุมัติโครงการ Quantum Initiative ในปีพ.ศ. 2561 เพื่อสนับสนุนงานวิจัยรวมไปถึงการต่อยอดเทคโนโลยีทางควอนตัมเป็นระยะเวลาสิบปีเป็นจำนวนเงินกว่า 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ... อ่านต่อ
7 พฤษภาคม 2563
โรคโควิด-19 (COVID-19) เริ่มต้นขึ้นที่เมืองอู่ฮั่น เมืองเอกของมณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 มาถึงวันนี้ (7 พฤษภาคม 2563) โรคนี้ได้ระบาดไปแล้ว 6 ใน 7 ทวีป (เหลือแต่เพียงทวีปแอนตาร์กติกา) มีผู้ติดเชื้อรวมกันทั่วโลก 3,822,860 คน และมีผู้เสียชีวิตจากไวรัสตัวนี้ไปแล้วรวม 265,076 คน ... อ่านต่อ
6 พฤษภาคม 2563
One of the important applications of ion beam irradiation is in biology, e.g. for cancer therapy and crop mutation breeding. In the applications, the irradiation finally modifies or changes DNA in the tissue cells so that cell death or mutation can be triggered. In the irradiation of materials, the particle energy deposition in the target atoms dominantly occurs around the Bragg peak which is very near the end point of the ion traveling in the material. ... อ่านต่อ
12 กุมภาพันธ์ 2563
อารยธรรมของมนุษย์ทั้งปัจจุบันและอนาคตต้องพึ่งพาพลังงานไฟฟ้าอย่างขาดไม่ได้ ที่ผ่านมาเราผลิตไฟฟ้าโดยใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล (แก๊สธรรมชาติ, ถ่านหิน และน้ำมัน) เป็นหลัก เช่นประเทศไทยผลิตไฟฟ้าจากแก๊สธรรมชาติ 61.31%, จากถ่านหิน 22.84% และจากน้ำมัน 0.58% (ข้อมูลปี 2562) ... อ่านต่อ
5 พฤศจิกายน 2562
ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์ชัดว่าประโยชน์ของคอมพิวเตอร์มีมหาศาล ทำให้โลกก้าวหน้าขึ้นอย่างมากมาย ความพยายามในการเพิ่มสมรรถนะของคอมพิวเตอร์จึงมีอยู่เสมอ สมรรถนะของคอมพิวเตอร์นั้นดูกันที่ความจุข้อมูลและความเร็วในการคำนวณหรือในการจัดดำเนินการกับข้อมูล ซึ่งขึ้นอยู่กับสมรรถนะของไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) อีกที ... อ่านต่อ
3 ตุลาคม 2562
Global climate change threatens most countries in the world, including Thailand, with disastrous consequences. Approximately 1/3 of CO2 emission, which is the primary cause of climate change, is due to transportation, reducing our current reliance on combustion of fossil fuels is a major target for implementation of new technologies. Changing societal priorities as well as new technologies are leading us to a revolution in transportation. ... อ่านต่อ
19 กรกฎาคม 2562
เมื่อไม่นานมานี้ผู้เขียนไปได้ยินข่าวมาว่าอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและคอมเพรสเซอร์ (compressor) ของไทยที่เคยติดอันดับต้นๆของโลก ตอนนี้กำลังย่ำแย่ ถูกคอมเพรสเซอร์และแอร์แบรนด์จีน (เช่นยี่ห้อ Gree) ตีตลาด หลังจากนั้นไม่นานก็ได้มาเห็นข่าวที่ไม่น่าสบายใจในทำนองเดียวกันจากหนังสือพิมพ์ (รูปที่ 1) เออหนอ! ความสามารถในการแข่งขัน (competitiveness) ของอุตสาหกรรมสายเทคโนโลยีของคนไทยหดหายไปไหนเสียหมด ทำไมไม่เป็นเหมือนอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้บ้าง (รูปที่ 2) ลองมาดูกันนะครับว่า ประเทศเกาหลีใต้สร้างความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมของเขาขึ้นมาได้อย่างไร ... อ่านต่อ
9 พฤศจิกายน 2561
จักรภพอังกฤษได้เริ่มแผ่ขยายการล่าอาณานิคมมาถึงแหลมมลายู เมื่อปี พ.ศ. 2329 เกาะสิงคโปร์ถูก Sir Thomas Stamford Raffles ผนวกเข้าไปอยู่ในอาณัติของอังกฤษเมื่อปีพ.ศ. 2362 โดยถูกใช้เป็นท่าเรือและโกดังของบริษัทอินเดียตะวันออก เมื่อจักรภพอังกฤษกลับมาใหม่ในปีพ.ศ. 2488 หลังญี่ปุ่นพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาะสิงคโปร์ได้รับสถานะเป็นอาณานิคมในพระองค์ (Crown Colony) ... อ่านต่อ
23 สิงหาคม 2561
ในสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ในการประชุม BRIC Business Forum ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ มีใจความบางตอนที่น่าสนใจ ดังนี้ “หนึ่งในสองปัจจัยของพลังสำคัญในการขับเคลื่อนโลกคือความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นผู้สร้างความเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการพัฒนาประเทศ และต่อระบบโลกในที่สุด เป็นความเปลี่ยนแปลงที่ใครก็หยุดไม่ได้ ต้องเกาะติดนวัตกรรมและโอกาสพัฒนา.......ตั้งแต่อดีตกาล วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคือแรงผลักดันสำคัญของมนุษยชาติ ผลักดันให้เกิดอารยธรรมเกษตรสู่อารยธรรมอุตสาหกรรม บัดนี้โลกมาถึงจุดเปลี่ยนสำคัญอีกครั้ง สิ่งใหม่กำลังเกิดและแทนที่ของเก่า เป็นกระบวนการที่ยากลำบากและเจ็บปวด หากประเทศใดยึดฉวยโอกาสเหล่านี้ไว้ได้ จะเติบโตและช่วยให้ประชาชนมีชีวิตดีกว่าเดิม” [1] ... อ่านต่อ
13 มีนาคม 2561
ถึงผู้เขียนจะเป็นคนรุ่นเก่า ก็มิอาจไม่ยอมรับว่าสมาร์ทโฟน (smartphone) หรือที่จะขอเรียกไทยๆสั้นๆว่า “มือถือ”มีความสำคัญ แต่กับคนรุ่นใหม่แล้ว ดูเหมือนจะยังน้อยไป มือถือน่าจะมีความสำคัญมาก ถึงมากที่สุด ผู้เขียนเคยเห็นวัยรุ่นหญิง 3-4 คน ชวนกันมาเที่ยวห้าง แล้วเข้ามาจับจองโต๊ะในร้านกาแฟเดียวกับผู้เขียน แต่แทนที่จะได้ยินเสียงเม้าท์กันกระจายตามประสาเพื่อนสนิทจากโต๊ะนี้ กลับเป็นว่าเงียบกริบ ... อ่านต่อ
15 มกราคม 2561
ประเทศเนเธอร์แลนด์หรือราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศเล็กๆในทวีปยุโรป (มีพื้นที่ประมาณ 40,000 ตร.กม. มีจำนวนประชากรประมาณ 17 ล้านคน เทียบกับประเทศไทยแล้วมีพื้นที่เล็กกว่าประมาณ 12 เท่า และมีประชากรน้อยกว่าประมาณ 4 เท่า) ที่ถูกจัดว่าเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และเป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลก มีที่ตั้งในเขตที่ราบต่ำติดทะเลเหนือ โดยที่ 1/4 ของพื้นที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ซึ่งทำให้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ... อ่านต่อ
30 สิงหาคม 2560
ในปีพ.ศ. 2560 นี้ สมาคมฟิสิกส์แห่งสหรัฐอเมริกา (American Physical Society หรือ APS) ได้ประกาศให้รางวัลการประยุกต์ด้านฟิสิกส์เพื่ออุตสาหกรรม (Prize for Industrial Applications of Physics) แก่ Dr. Asad Khan ... อ่านต่อ
14 พฤศจิกายน 2559
ประสิทธิภาพ ความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและความมั่นคงทางพลังงานเป็นโจทย์หลักที่จะกำหนดทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต รถยนต์หรือยานยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า (electric vehicle หรือ EV) ตอบโจทย์ดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ... อ่านต่อ
15 กันยายน 2559
ปัจจุบันเรารู้กันดีว่าเตาไมโครเวฟช่วยให้การเข้าครัวหุงหาอาหารสะดวกขึ้นมาก แต่เตาไมโครเวฟยังมีประโยชน์ในวงการอุตสาหกรรมด้วย ... อ่านต่อ
10 พฤษภาคม 2559
คงไม่มีใครปฏิเสธว่าการมีสุขภาพที่ดีเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญในการเพิ่มคุณภาพชีวิต ดังที่เราคนไทยชอบพูดกันติดปากว่า “ ความไม่มีโรคคือลาภอันประเสริฐ ” การจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย โดยหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญก็คือการวินิจฉัยโรคที่รวดเร็ว ไวต่อการวัด และให้ผลการตรวจที่ถูกต้องแม่นยำ ... อ่านต่อ
15 กุมภาพันธ์ 2559
เมื่อตอนที่ผู้เขียนและเพื่อนๆยังเรียนอยู่ชั้นมัธยมต้น ในชั่วโมงวิชาภาษาอังกฤษ หนังสือที่ต้องใช้ในการเรียนเล่มหนึ่งมีชื่อว่า Seven Inventors (เขียนโดย Harry McNicol ครูผู้สอนคือคุณครูจินดา กอน ท่านล้ำหน้าเหนือกาลเวลาเอามากๆ เล่มที่สองยิ่งแล้วใหญ่เพราะเป็นวรรณกรรมเรื่อง Great Expectations ... อ่านต่อ
18 มีนาคม 2558
ไม่ต้องไปอ้างถึงสิ่งมีชีวิตอื่นๆในโลกใบนี้ให้วุ่นวาย ดูแต่ที่มนุษย์เท่านั้นก็พอ แค่นี้ก็ยอมรับโดยดุษณีได้แล้วว่าแสงมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตมากถึงมากที่สุด จำเป็นต้องอาศัยแสงตั้งแต่ลืมตาตื่นจนกระทั่งหลับตาลงนอนอีกครั้ง คงด้วยความสำคัญของแสงดังนี้ องค์การสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ปีพ.ศ. 2558 นี้เป็น “ปีสากลของแสง” ซึ่ง ... อ่านต่อ
18 กุมภาพันธ์ 2558
สมาคม American Physical Society (APS) ได้ประกาศออกมาแล้วว่าผู้ที่ได้รับรางวัลการประยุกต์ด้านฟิสิกส์เพื่ออุตสาหกรรม ประจำปีพ.ศ. 2558 (2015 Prize for Industrial Applications of Physics) คือ Dr. Supradik Guha ... อ่านต่อ
27 มกราคม 2557
อาจารย์ฟิสิกส์ไทยแทบทุกคน ต้องเคยถูกนักศึกษาถามในทำนองที่ว่าจบแล้วทำงานอะไรดี มีงานอะไรให้ทำบ้างที่ไม่ใช่เป็นครูบาอาจารย์ ลองมาดูกันว่าอาจารย์ฟิสิกส์ที่อังกฤษจะถูกนักศึกษาถามว่าอย่างไร แล้วตอบว่าอย่างไร ทำไมจึงตอบอย่างนั้น ... อ่านต่อ
25 พฤศจิกายน 2556
ในอดีตนั้นผู้ที่เรียนจบฟิสิกส์แล้วก็มักจะเข้าสู่เส้นทางนักวิชาการกันเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะที่เรียนระดับปริญญาโท-ปริญญาเอก มีที่มุ่งเข้าสู่วงการอุตสาหกรรมไม่มากนัก แต่ในปัจจุบันมีหลายสิ่งที่เปลี่ยนไปจากเดิม ในประเทศอุตสาหกรรมมีแนวโน้มใหม่ว่าผู้ที่เรียนจบฟิสิกส์แล้วกลับเลือกมุ่งสู่ภาคอุตสาหกรรมมากกว่า ในประเทศไทยนั้นโอกาสของนักฟิสิกส์ในภาคอุตสาหกรรมจะแคบกว่าเพราะ ... อ่านต่อ
12 ตุลาคม 2555
อีริค ฟูลเลอร์ตัน เรียนจบปริญญาตรีสาขาฟิสิกส์จาก Harvey Mudd College ที่เมือง Claremont มลรัฐแคลิฟอร์เนีย เมื่อปีค.ศ. 1984 แล้วไปจบปริญญาเอกสาขาฟิสิกส์จาก University of California วิทยาเขต San Diego ในปีค.ศ. 1991 โดยหัวข้อวิทยานิพนธ์นั้นเกี่ยวกับการปลูกผลึกและการหาลักษณะเฉพาะของซูเปอร์แลตทิซแบบโลหะ หลังจากนั้น ... อ่านต่อ
13 ตุลาคม 2553
รางวัลการประยุกต์ด้านฟิสิกส์เพื่ออุตสาหกรรมได้ริเริ่มขึ้นในปี 1977 โดย American Institute of Physics (AIP) เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์คุณค่าของการวิจัยฟิสิกส์ต่อภาคอุตสาหกรรม เพื่อเป็นการให้กำลังใจงานค้นคว้าวิจัยฟิสิกส์ที่มีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม และเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาประจักษ์ถึงความสำคัญของวิชาฟิสิกส์ในงานวิจัยของภาคอุตสาหกรรม ... อ่านต่อ